- 2 มกราคม 2019: ร่างแรก
- 2 พฤศจิกายน 2019: ปรับใหม่ (ยังไม่ปรับปรุงตรงการจัดหน้าในบทความและ Checklist ก่อนโพสต์)
- 9 มกราคม 2020: เพิ่มเติมเรื่อง Category และเรื่องเขียน slug และเรื่องการแก้ไขโพส
- 19 มกราคม 2020: เพิ่มเรื่อง Guideline และชื่อเมมเบอร์
- 20 มิถุนายน 2020: แก้ไขสำหรับ Lobby v3
หัวข้อ
รูปแบบบทความ
Guideline
- พยายามเขียนเรียงขั้นตอน 1-2-3
- วางรูปไว้เหนือคำอธิบายรูปนั้นเสมอ
การเขียนบทความ
การสะกดคำ และ/หรือ การเน้นคำ
- ตัวหนา
- เป็นชื่อเมมเบอร์และบุคคลสำคัญ เฉพาะครั้งแรกที่ปรากฏในบทความนั้นๆ
- เมื่อเป็นต้องการเน้นตัวหนาคำอื่นๆ ตามความเหมาะสม เช่น เซ็นเตอร์คนต่อไป หรือ วิกฤต48
- กับชื่อเฉพาะต่างๆ เช่น รายการ ฉายา (นักตกปลา, คูลบิวตี้, etc) ที่พูดถึงหลายครั้งในบทความให้ใช้ตัวหนา
- ตัวเอียง
- เมื่อเป็นชื่อเพลง, ชื่อละคร-หนัง โดยเพิ่มตัวหนาแค่ครั้งแรก
- เครื่องหมายอัญประกาศเดี่ยว (‘…’)
- ไว้ใช้กับ ‘ชื่อสเตจ’ เช่น สเตจมุรายามะทีม 4 ‘Te wo Tsunagi Nagara’
- เครื่องหมายอัญประกาศคู่ (” “)
- ใส่เฉพาะเป็นประโยคคำพูดเท่านั้น เช่น ยุยพูดว่า “จะพา AKB48 ไปจุดสูงสุดอีกครั้ง”
- เว้นวรรคทั้งก่อนและหลัง
- ระหว่างตัวเลข หรือ ตัวอักษร
- ก่อนที่จะเปิดวงเล็บ/หลังปิดวงเล็บ
- การเคาะเว้นวรรคไม้ยมก (ๆ)
- ไม่เคาะเว้นวรรคหน้า เคาะเว้นวรรคแค่หลังไม้มยก (เพื่อการตัดคำ)
- การเขียนชื่อเมมเบอร์
- ลำดับให้เขียน นามสกุล ชื่อจริง (ชื่อเล่น) เช่น ทานิกุจิ เมกุ (โอเมกุ)
- เมมเบอร์จากทีม 8 ให้เขียน นามสกุล ชื่อจริง (ชื่อเล่น จากจ….) เช่น คาวาฮาระ มิซากิ (มิซซา จากจ.ซากะ) วงเล็บไม่ต้องใส่ตัวหนา
- ไม่ต้องใส่ชื่อเล่นกรณี ข่าว/บทความนั้นมีรายชื่อเมมเบอร์เยอะ เช่น งานจับมือและเซ็ตลิสต์ หรือเมมเบอร์คนนั้นชื่อเล่นเหมือนกับชื่อจริงหรือนามสกุล
- สามารถใช้โปรแกรมอัตโนมัติจากคลังสะกดคำได้ (ดูด้านล่าง)
คลังสะกดคำ
ตรวจสอบการทับศัพท์ ชื่อเมมเบอร์, สถานที่, ชื่อสเตจ และคำอื่นๆ ได้ที่ >>> คลังสะกดคำ ฉบับ Lobby48 <<<
- รายชื่อสถานที่หลักๆ ในประกาศญี่ปุ่น
- รายชื่อเมมเบอร์และบุคคลสำคัญของ AKB48 Group
- โปรแกรมช่วงแปลงชื่อจากคันจิเป็นฟอร์แมตของเว็บอัตโนมัติ
รายชื่อเพลง(ยังทำไม่เสร็จ)- โปรแกรมช่วยทำ Setlist ตามแบบของเว็บอัตโนมัติ (ดูส่วน Shortcode ประกอบ)
- ศัพท์เฉพาะของ AKB48 และคำยืมต่างๆ
การเลือกใช้ Category, Tag, 48G, Member
สำหรับ Tag ใส่เฉพาะชื่อเมมเบอร์เท่านั้นTag ใส่หัวข้อที่เกี่ยวข้องทั้งหมด- แท็กพิเศษ: “Featured News” สำหรับช่อง Featured News ในหน้าแรก
- แท็กพิเศษ: “Featured Story” สำหรับ 5 บทความข้างบน (จะแสดงผล 5 บทความล่าสุดที่มีในแท็กนี้)
- แท็กพิเศษ: “Featured Guideline” สำหรับ Guideline หน้าแรก 3 บทความล่าสุด
- 48G — ใส่ตามวงที่มีส่วนเกี่ยวข้องในบทความนั้น ทุกวง (ไม่ต้องใส่วงใหญ่รวม ยกเว้นเกี่ยวข้อง เช่น AKB48 + Team 8)
- Category
: Articlesติดอันเดียวเท่านั้น ยกเว้นเคสพิเศษเป็นกรณีไป ไม่ต้องติดหมวดหมู่ใหญ่ ติดอันที่ย่อยที่สุดอันเดัยว- About AKB48 — บทความอธิบายเรื่องราวของ AKB48/48G โดยไม่มีความเห็นของผู้เขียน หรือมีความเห็นเป็นส่วนน้อย (ยกเว้นการเขียนแนะนำเมมเบอร์ที่เกี่ยวข้องสั้นๆ ตามความเห็นของผู้เขียนได้ แต่ไม่ใช่แก่นสำคัญของบทความ)
- Fan’s Report — ตามชื่อ
- Gallery — ตามชื่อ
- Guideline — บทความแนะนำการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ฯลฯ
- Lobby — บทความอื่นๆ ที่มีความเห็นของผู้เขียนเป็นส่วนใหญ่
- News — บทความที่มีลักษณะเป็นข่าว อาจจะร่วมกับหมวดหมู่อื่นก็ได้ เช่น แปลประกาศ จะเป็นทั้ง News และ Translation
- Lobby Update — ติดหมวดหมู่นี้ด้วยเสมอ (
ติด News ด้วยห้ามติด News) สำหรับ Lobby Update Weekly - Discography — สำหรับปล่อยเพลง ปล่อยแผ่น ปล่อยซิงเกิล ปล่อยอัลบั้ม
- Events — งานจับมือ คอนเสิร์ต ไลฟ์ ฯลฯ
- Graduation — เกี่ยวกับจบการศึกษา ข่าว รีพอร์ต ฯลฯ
- Management — ตั้งวงใหม่ ย้ายบริษัท ตั้งผู้จัดการ ฯลฯ
- Members News — ข่าวส่วนตัวเมมที่ไม่เกี่ยวกับวง
- Seitansai — รีพอร์ตสเตจวันเกิด
- SNS News — ข่าวเปิด SNS ฯลฯ
- Lobby Update — ติดหมวดหมู่นี้ด้วยเสมอ (
- Translation — ติดเสมอถ้าเป็นการแปล (การสรุปไม่นับ) อาจจะติดหรือไม่ติดหมวดหมู่ย่อยก็ได้
- Article — ถ้ามีลักษณะเป็นบทความ
- Interview — ถ้ามีลักษณะเป็นสัมภาษณ์
- SNS — ถ้าแปล SNS ของเมมเบอร์
Breaking News — จะขึ้นตัววิ่งหัวเว็บHighlight (Feature/Pin Post) — Feature จะขึ้นหัวเว็บ Pin Post คือสี่อันข้างๆ
การใช้ Shortcode ในเนื้อหา
สามารถเรียกใช้งานได้จากปุ่ม [/] บนหน้าแก้ไขบทความบน Wordpress
- ตัวคั่นทั่วไป
- [sc name="Dashed Line"] ใช้คั่นเนื้อหาหลัก
- [sc name="Dashed Line - Half"] ใช้คั่นส่วนย่อย
- [sc name="Page Ending With Author Name"] ใช้วาดท้ายเพจ ใช้เฉพาะกรณีผู้เขียนเป็น Lobby Guest ไม่ต้องใส่คำว่า (Lobby Guest)
- การเขียนเลนจับมือ
- [sc name="HSLane-begin" n="ใส่ชื่องาน หรือไม่ใส่ก็ได้"]
[sc name="HSLane" lane="1" member="ทานิกุจิ เมกุ, อาซาอิ นานามิ"]
[sc name="HSLane" lane="2" member="โคจิมะ มาโกะ, โอคาดะ นานะ"]
[sc name="HSLane" lane="3" member="ยาสึดะ คานะ, นากาโทโมะ อายามิ"]
[sc name="HSLane" lane="4" member="อิริยามะ อันนะ, คาโต้ เรนะ"]
[sc name="HSLane-end"]
- [sc name="HSLane-begin" n="ใส่ชื่องาน หรือไม่ใส่ก็ได้"]
สำหรับการเขียนเลนจับมือ มีโค้ดทั้งหมด 3 โค้ด ต้องเปิดด้วย HSLane-begin และปิดท้ายตัวด้วย HSLane-end ทุกครั้ง ส่วนเนื้อหาใช้ HSLane พิมพ์ตามจำนวนเลนที่มี
- การเขียนเซ็ตลิสต์
[sc name="Setlist-begin" n="ใส่ชื่องานหรือไม่ใส่ก็ได้"] ←โค้ดเปิด
[sc name="Setlist-mc" order="Kage-Ana" member="ชื่อเมมเบอร์"] ←โค้ด Kage- Ana และ MC ให้เปลี่ยนตรง order เอาว่าเป็น Kage-Ana หรือ MC
- [sc name="Setlist-mc" order="MC1"] ←โค้ด MC (กรณีไม่ใส่ชื่อเมมเบอร์)
[sc name="Setlist-member" order="เพลงที่" song="ชื่อเพลงรวม" member="ชื่อเมมเบอร์"] ←โค้ดชื่อเพลง (กรณีใส่ชื่อเมมเบอร์) ตรง เพลงที่ ให้ใช้รูปแบบ M01, M02 และสำหรับเพลงอังกอร์ใช้ EN1
- [sc name="Setlist" order="เพลงที่" song="ชื่อเพลง"] ←โค้ดชื่อเพลง (กรณีไม่ใส่ชื่อเมมเบอร์)
[sc name="Setlist-end"] ←โค้ดปิด
ตัวอย่าง (Code)
[sc name="Setlist-begin" n="AKB48 Concert in Bangkok"]
[sc name="Setlist-mc" order="Kage-Ana" member="โอคาดะ รินะ"]
[sc name="Setlist-member" order="M01" song="Jiwaru DAYS" member="เซ็นเตอร์ : อาซาอิ นานามิ"][sc name="Setlist-member" order="M02" song="NO WAY MAN" member="เซ็นเตอร์ : ทานิกุจิ เมกุ"][sc name="Setlist-member" order="M03" song="#SukiNanda" member="เซ็นเตอร์ : โยโกยามะ ยุย"]
[sc name="Setlist-mc" order="MC1"]
[sc name="Setlist-member" order="M04" song="I'm Sure" member="โอคาดะ นานะ, ทานิกุจิ เมกุ"]
[sc name="Setlist-member" order="M05" song="Tonari no Banana" member="มุไคจิ มิอง, โมกิ ชิโนบุ"][sc name="Setlist-member" order="M06" song="Tenshi no Shippo" member="โอคาดะ รินะ (เซ็นเตอร์), สึเอนากะ ยูสึกิ, ไซโต้ ฮารุนะ"]
[sc name="Setlist-mc" order="MC2" member="อาซาอิ นานามิ, ทานิกุจิ เมกุ"]
[sc name="Setlist" order="EN1" song="Lavender Field"]
[sc name="Setlist-end"]
ตัวอย่าง (Preview)
Setlist AKB48 Concert in Bangkok
การตรวจบทความและข่าวบน Google Doc
- เจ้าของบทความ/เจ้าของข่าว : ใช้โหมด Editting ในการทำ
- แก้งานคนอื่น : ใช้โหมด Suggesting ในการให้คำแนะนำแทนการแก้ลงไปตรงๆ
- ถามเพิ่มเติม/โน้ตบอก : ไฮไลท์ข้อความนั้นแล้วคลิกขวาเลือก Comment จากนั้นใส่คำถาม/โน้ตที่อยากจะบอก
- การกดยืนยันข้อความ Suggestion หรือ Comment : โดยหลักแล้วให้เจ้าของบทความเป็นคนกดยืนยัน
การปรับปรุงบทความที่ล้าสมัย
บทความ โดยเฉพาะ Guideline ที่ล้าสมัย หากมีการปรับปรุง ต้อง
- เปลี่ยนวันที่เผยแพร่เป็นวันและเวลาที่ปรับปรุง เพื่อให้วันที่และเวลาใน Google ฯลฯ แสดงวันที่ใหม่
- เติมประวัติการแก้ไข (ดูหัวข้อล่าง)
ทั้งนี้ หากเป็นการปรับปรุงเล็กน้อย เช่น จัดหน้า แก้ตัวสะกด ฯลฯ ไม่นับเป็นการปรับปรุงบทความ
ประวัติการแก้ไข
ประวัติการแก้ไขสามารถเขียนได้ด้วย shortcode ต่อไปนี้
[sc name="revision-history"]
- 1 มกราคม 2019: เผยแพร่ครั้งแรก
- 1 มกราคม 2020: เนื้อหาการแก้โดยย่อ ใช้เครื่องมือลิสต์ธรรมดาของ Editor เลย
[sc name="revision-history-end" ]
จะแสดงผลเป็น
- 1 มกราคม 2019: เผยแพร่ครั้งแรก
- 1 มกราคม 2020: เนื้อหาการแก้โดยย่อ ใช้เครื่องมือลิสต์ธรรมดาของ Editor เลย
การเขียน Lobby Update บน Google Doc
ให้อิงตามหัวข้อการเขียนบทความ แต่จะมีบางส่วนที่ต่างออกไปดังนี้
การหาข่าว
เวลาเจอข่าวให้เพิ่มการ์ดลง Lobby Update บน Trello สัปดาห์นั้นๆ พร้อมแปะแหล่งที่มา (ควรเป็นภาษาญี่ปุ่น) เพื่อคนที่รับช่วงต่อเขียนสะดวกต่อการหาหยิบข้อมูลมาเขียน
การจัด Style ของการเขียน
- วันที่ : ใช้ Heading 3
- หัวข้อข่าว : ใช้ Heading 5 และตั้งหัวข้อให้กระชับที่สุด หากยาวเกินไปสารบัญจะไม่สวยงาม
- แหล่งที่มาของข่าว : พิมพ์ Source : ตามด้วยชื่อแหล่งที่มา เช่น Source : AKB48 Official Blog โดยใช้ขนาดอักษร 8px และจัดชิดขวา หากมีแหล่งที่มา 2 แหล่งขึ้นไปให้ใช้ตัวเลขแทน เช่น Source : 1, 2 เป็นต้น โดยใส่ลิงก์ให้เรียบร้อย
- การใส่รูปแบบคำบรรยาย : บน Google Doc ให้เลือกรูปที่จะใช้แปะเป็นลิงก์ไว้ (ไม่จำเป็นต้องมีรูปทุกข่าว) ใส่คำบรรยายใต้ภาพด้วยขนาดอักษร 8 px และจัดกึ่งกลาง
Shortcode [/] สำหรับข่าว
- คั่นข่าวแต่ละข่าวที่อยู่ในวันเดียวกันด้วย [sc name="Dashed Line - Half"]
- ข่าวสุดท้ายของแต่ละวันไม่ต้องใช้
- เขียนเซ็ตลิสต์ด้วย Shortcode ชุดที่ขึ้นต้นด้วย Setlist
- เขียนเลนจับมือด้วย Shortcode ชุดที่ขึ้นต้นด้วย HSLane
การจัดหน้าในบทความ
ใช้รูปแบบ Heading 3-4-5 ในการกำหนดหัวข้อตามลำดับขั้นอยากใช้อะไรก็ใช้ ตั้งแต่ 1-6- หลังหัวข้อ ไม่ต้องเคาะ! ระบบจะเว้นว่างไว้อยู่แล้ว
- ถ้าต้องการใช้สารบัญ ให้เปิดใช้งาน ‘Insert table of contents.’ ใต้โพส ระบบจะสร้างสารบัญจาก Heading 3-4-5 อัตโนมัติ (แนะนำให้เปิดเองตามหัวข้อที่ใช้จริง)
- สีชมพูล็อบบี้ เลือกได้มุมซ้ายบนของตัวเลือกสี อย่าจิ้มกะเอาเอง
- กรณีบทสัมภาษณ์ — ใช้ Heading 6 ในการจัดคำถามของบทสัมภาษณ์
- พยายามจัดให้เป็นย่อหน้า ใช้ Shift-Enter (ขึ้นบรรทัดใหม่ในย่อหน้าเดียวกัน) ให้น้อยที่สุด
- Caption รูปภาพ พิมพ์โดยเลื่อนเคอร์เซอร์ไปหลังรูป แล้วเคาะลงมา เซ็ตขนาดเป็น 8pt สีเทาอันที่ 6 จากบนในตัวเลือกสี
เช็คลิสต์ก่อนโพส
- เซ็ต slug เป็นภาษาอังกฤษหรือยัง
- วิธีตั้งชื่อ slug
- ถ้าโพสแปล (ไม่ว่าจะเป็นบทความหรือนิตยสาร) มีชื่อบทความ [แปล] ขึ้นด้วยคำว่า translation-
- ถ้าเป็นไกด์ไลน์ ขึ้นด้วยคำว่า guide-
ถ้าเป็นข่าวสาร ไม่ว่าจะข่าวอะไรก็ตาม ขึ้นด้วยคำว่า news-(แปลหัวข่าวเอาเลย)- ถ้าเป็นรีพอร์ต ขึ้นด้วยคำว่า report ตามด้วยประเภทงาน ต่อด้วยวันที่(ปีเดือนวัน) ต่อด้วย by-ชื่อคนไป เช่น report-2shot-20181109-by-jantp
- ถ้าเป็น Lobby Update ใช้แพทเทิร์น lobby-update-yyyymmdd-yyyymmdd
- ถ้าเป็นอื่นๆ (Lobby ฯลฯ) แปลหัวข้อเลย ไม่ต้องมีคำนำหน้า
- วิธีตั้งชื่อ slug
เซ็ต Feature Image อย่างน้อย 800×445 pixel (ขนาดไม่ถึงเอา Photoshop ขยายไปก่อน)ใน v3 มันจัดการเองได้- เซ็ต Excerpt ส่วนนี้คือคำอธิบายหรือเรื่องย่อที่โชว์ใน feature ของหน้าแรก (ถ้านึกไม่ออกก็เอาย่อหน้าแรกของบทความมาใส่)
- เช็คเวลาโพส เวลาที่เหมาะคือ 18.00-22.00 (เวลาไทย)